วันเสาร์ที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2553

สรุปข้อมูลบุคลากรจำแนกตามสาขาวิชาเอกที่จบสอดคล้องกับกุลุ่มสาระ
โรงเรียนเมืองเชลียง

ที่ ชื่อ - นามสกุล ตำแหน่ง การสอนตรงกับสาขาที่จบ
กลุ่มสาระที่สอน สาขาวิชาเอกที่จบสอดคล้องกับกุลุ่มสาระ
1 นางนิภาวรรณ เจริญวัย
2 นางสาวกันนิกา บัวแก้ว
3 นายวิทยา ทองอยู่ ฝ่ายบริหาร ฝ่ายบริหาร
4 นายประธาน หาญณรงค์ ฝ่ายบริหาร ฝ่ายบริหาร
5 นางสาววาสนา เชิงคีรี สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
6 นางสมพิษณุ์ ขอบเขต ภาษาไทย ภาษาไทย
7 นายวิญญู รังสิวุฒาภรณ์ ภาษาต่างประเทศ ภาษาไทย
8 นายอิสระ เถื่อนถ้ำ คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์
9 นางรัตนา รัตนอุทัยกูล วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์
10 นายชูศักดิ์ เกื้อกูล สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
11 นายบัณฑิต ขอบคุณ คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์
12 นางราตรี สุวรรณประสิทธิ์ ภาษาต่างประเทศ ภาษาต่างประเทศ
13 นางวรรณรินทร์ เข็มมุข ภาษาไทย ภาษาไทย
14 นางจรินทร์ ฑิฆัมพรธีรวงศ์ คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์
15 นายจำเริญ สุวรรณประสิทธิ์ วิทยาศาสตร์ (ฟิสิกส์) วิทยาศาสตร์
16 นายสุเมธ ขอบคุณ คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์
17 นายถาวร จริยานุวัตร สุขศึกษาและพลศึกษา สุขศึกษาและพลศึกษา
18 นางสาวสุวณี สำเริงฤทธิ์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
19 นางสุทธิรัตน์ ผ่องพลีศาล ภาษาต่างประเทศ ภาษาต่างประเทศ
20 นางนิ่มนวล น้อยวงศ์ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์
21 นายวีระชัย เนียมถาวร วิทยาศาสตร์ (ฟิสิกส์) วิทยาศาสตร์ (ฟิสิกส์)
22 นายวีรชัย แก้วประเสริฐ สุขศึกษาและพลศึกษา สุขศึกษาและพลศึกษา
23 นางวิภาวรรณ มาลาวัลย์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
24 นายบรรเจิด ผ่องพลีศาล คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์
25 นางจันทร รังสิวุฒาภรณ์ ภาษาต่างประเทศ ภาษาต่างประเทศ
26 นางสาวระวีวรรณ อินทรประพันธ์ ภาษาไทย ภาษาไทย
27 นางมาลัย พุกกะณะสุต สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
28 นายชลิต ฉายกี่ สุขศึกษาและพลศึกษา สุขศึกษาและพลศึกษา
29 นางประนอม ฉายกี่ การงานอาชีพและเทคโนโลยี (พณิชยกรรม) การงานอาชีพและเทคโนโลยี (พณิชยกรรม)
30 นางลำพูน กระแซง การงานอาชีพและเทคโนโลยี (พณิชยกรรม) ฝ่ายบริหาร
31 นายเรวัตร น้อยวงศ์ การงานอาชีพและเทคโนโลยี (เกษตรกรรม) การงานอาชีพและเทคโนโลยี (เกษตรกรรม)
32 นางวรีวรรณ โขนงนุช สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
33 นายสมโภชน์ ดีเอี่ยม คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์
34 นางสุนทรีรัตน์ มหาปัญญาวงศ์ ภาษาไทย ภาษาไทย
35 นางวาลี เนียมถาวร ภาษาต่างประเทศ ภาษาต่างประเทศ
36 นายสุรวิทย์ รังสิวุฒาภรณ์ การงานอาชีพและเทคโนโลยี (เกษตรกรรม) การงานอาชีพและเทคโนโลยี (เกษตรกรรม)
37 นายวสันต์ งามดี ศิลปะ ศิลปะ
38 นายประกิต โฆสิต สุขศึกษาและพลศึกษา สุขศึกษาและพลศึกษา
39 นายไพรัตน์ พลอยเจริญ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
40 นางเฉลียว พลอยเจริญ การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คหกรรม) การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คหกรรม)
41 นายชนินทร์ เกิดผล สุขศึกษาและพลศึกษา สุขศึกษาและพลศึกษา
42 นางพรพิมล พรมน้ำอ่าง การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์)
43 นางพวงเพชร แก้วเกต กิจกรรมห้องสมุด กิจกรรมห้องสมุด
44 นางสาวไฉน อรุณเกล้า ภาษาต่างประเทศ ภาษาต่างประเทศ
45 นางสาววันเพ็ญ อ่อนดี ภาษาต่างประเทศ ภาษาต่างประเทศ
46 นายสว่าง จันทร์เจาะ วิทยาศาสตร์ (เคมี) วิทยาศาสตร์ (เคมี)
47 นางรุ่งฤดี ทองแซม วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา)
48 นางสาวแสงเดือน พลมาก ภาษาต่างประเทศ ภาษาต่างประเทศ
49 นายวรดิฐ เกิดผล คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์
50 นางศุทธินี จิตประพัฒน์ ภาษาไทย ภาษาไทย
51 นางสาวรุ่งนภา สังข์จันทร์ ภาษาญี่ปุน ภาษาญี่ปุน
52 นางสมศรี เขียวชะอุ่ม ภาษาไทย ภาษาไทย
53 นายอนุวัฒน์ วงศ์จันทรมณี สุขศึกษาและพลศึกษา สุขศึกษาและพลศึกษา
54 นายยุธยา คงพรม วิทยาศาสตร์ (เคมี) วิทยาศาสตร์ (เคมี)
55 นายปกครอง ศรีสุวรรณ คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์
56 นางสาวกนกพร นวมนาค ภาษาต่างประเทศ ภาษาต่างประเทศ
57 นางสาวรำพู ช่างไชย วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์
58 นายวิฑูรย์ เขียวชะอุ่ม คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์
59 นายสมพงษ์ กลับเส็ง วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ (เคมี)
60 นางสาวศิริวรรณ ขวัญมุข คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์
61 นางสุพัตรา จั่นจีน ภาษาต่างประเทศ ภาษาต่างประเทศ
62 นางประภาวดี ทองเวียง ภาษาไทย ภาษาไทย
63 นางสาวประนอม จะปิน ไม่ได้ทำการสอน ไม่ได้ทำการสอน
64 นายฉัตรชัย ศรีสมบูรณ์ ภาษาต่างประเทศ ภาษาต่างประเทศ
65 นางพิชชากร มูลปานันท์ การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์)
66 นางศศินา ไทยสาย สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
67 นายอดิวิชญ์ ทองหล่อ วิทยาศาสตร์ (ฟิสิกส์) วิทยาศาสตร์ (ฟิสิกส์)
68 นางสาวปมาพร พืชเนาวรัตน์ การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์)
69 นางสาวอภิรมย์ฤดี จันทร์เดช การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์)
70 นางสาววรวรรณ สำอางค์ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์
71 นางสาวมินตรา เขียวชะอุ่ม ภาษาต่างประเทศ ภาษาต่างประเทศ
72 นางสาวพชรพรรณ อมรนพรัตนกุล คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์
73 นายวิจักร แก้วประเสริฐ ศิลปะ ศิลปะ
74 นายพยุงศักดิ์ แสนคำ สุขศึกษาและพลศึกษา สุขศึกษาและพลศึกษา
75 นางสาวอนุตร พิกุลแกม การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์)
76 นายประดิษฐ์ ท่าชัย ศิลปะ ดนตรีสากล
77 นายสายันต์ อินต๊ะกัน การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์)
78 นางสาวเนาวรัตน์ คำอ้ายล้าน ภาษาไทย ภาษาไทย
79 นายธนพล แก้วทิม สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
80 นางสาวกุลรวี อุปถัมภ์ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์
81 นางจุฑามาส นาคำภา ศิลปะ ศิลปะ
82 นางฉัตรแก้ว เหรา การงานอาชีพและเทคโนโลยี (พณิชยกรรม) การงานอาชีพและเทคโนโลยี (พณิชยกรรม)
83 นางปาริชาติ อินต๊ะกัน การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์)
84 นายปิยะ อุดมมงคล การงานอาชีพและเทคโนโลยี (ช่างอุตสาหกรรม) การงานอาชีพและเทคโนโลยี (ช่างอุตสาหกรรม)
85 นายธีรยุทธ นาคำภา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
86 นางสาวสังเวียน แก้วหนู วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ (เคมี)
87 นางสาวธนิตา ทานศรีชาติ สุขศึกษาและพลศึกษา สุขศึกษาและพลศึกษา
88 นายอดิศักดิ์ รุ่งพรมหม วิทยาศาสตร์ (เคมี) วิทยาศาสตร์ (เคมี)
89 นางสาวขวัญเรือน มงคลประดิษฐ์ ภาษาไทย ภาษาไทย
90 นางสาวนาฏยา ขำคง การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คหกรรม) การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คหกรรม)
91 นายภานุพงศ์ ข้างจะงาม ศิลปะ ศิลปะ
92 นางสาวสุมลมาลย์ อมรมุนีพงศ์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
93 นางสาววิไล ชมชัย วิทยาศาสตร์ (ฟิสิกส์) วิทยาศาสตร์ (ฟิสิกส์)
94 นางสาวอนงค์ บุญหล้า ศิลปะ ศิลปะ
95 นางสาวรัชนีกร ขวดแก้ว การงานอาชีพและเทคโนโลยี (เกษตรกรรม) การงานอาชีพและเทคโนโลยี (เกษตรกรรม)
96 นางสาวลลิตา รัตนสุคนธ์วงศ์ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา)
97 นางสาววรรณรัตน์ หลักแหลม สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
98 นางสาววิภาวี ใจซื่อดี ไม่ได้ทำการสอน ไม่ได้ทำการสอน
99 นางสาวพรพักตร์ นนทธิ ไม่ได้ทำการสอน ไม่ได้ทำการสอน
100 นางสาวสาริณี ปรากฎวงศ์ ไม่ได้ทำการสอน ไม่ได้ทำการสอน
101 นางสาวภัทธิราพร ชะม้าย ไม่ได้ทำการสอน ไม่ได้ทำการสอน
102 นายมานิจ กาฟัก ลูกจ้างประจำ ช่างไม้2
103 นางสาวศิริรัตน์ มั่นสวาทไพบูลย์ ลูกจ้างประจำ พนักงานบริการ
104 นายประภาส เข็มทอง ลูกจ้างประจำ พนักงานบริการ
105 นายพนม แก้วประเสริฐ ลูกจ้างประจำ พนักงานบริการ
106 นายสอน คำหมอง ลูกจ้างประจำ ยาม ช่างไม้2
107 นายจรูญ พณิชนันทเวช ลูกจ้างประจำ ช่างไม้2
108 นายสิทธิชัย สิทธิสมพงศ์ ลูกจ้างประจำ พนักงานขับรถยนต์
109 นางจันทร์ นามกรณ์ แม่บ้านอาคาร แม่บ้านอาคาร 0899068125
110 นางสาวนิตยา ชาลี แม่บ้านอาคาร แม่บ้านอาคาร 0806846531
111 นางสมศรี เขื่อนเงิน แม่บ้านอาคาร แม่บ้านอาคาร 0892203724
112 นางบุญส่ง นิราศ แม่บ้านอาคาร แม่บ้านอาคาร 0860846024
113 นางอรุณ คำคล่อง แม่บ้านอาคาร แม่บ้านอาคาร 0899583175
114 นายไพรวัลย์ ศิริ ลูกจ้างชั่วคราว บริการทั่วไป
115 นายหาญ คันทา ลูกจ้างชั่วคราว ยาม








สรุปข้อมูลรายได้จำแนกตามเพศ
โรงเรียนเมืองเชลียง

ที่ ชื่อ - นามสกุล อายุ รายได้
1 นางสาววาสนา เชิงคีรี 61 33,540
2 นายวิทยา ทองอยู่ 59 47,450
3 นายมานิจ กาฟัก 59 14,970
4 นางสมพิษณุ์ ขอบเขต 59 44,340
5 นายวิญญู รังสิวุฒาภรณ์ 58 40,590
6 นายอิสระ เถื่อนถ้ำ 58 33,540
7 นางสาวศิริรัตน์ มั่นสวาทไพบูลย์ 58 14,140
8 นางรัตนา รัตนอุทัยกูล 58 45,900
9 นายประภาส เข็มทอง 57 14,140
10 นายชูศักดิ์ เกื้อกูล 57 33,540
11 นายบัณฑิต ขอบคุณ 57 33,540
12 นางราตรี สุวรรณประสิทธิ์ 56 33,540
13 นางวรรณรินทร์ เข็มมุข 56 39,360
14 นางจรินทร์ ฑิฆัมพรธีรวงศ์ 56 33,540
15 นายจำเริญ สุวรรณประสิทธิ์ 55 38,620
16 นายสุเมธ ขอบคุณ 55 33,540
17 นายถาวร จริยานุวัตร 55 33,040
18 นางสาวสุวณี สำเริงฤทธิ์ 55 39,930
19 นางสุทธิรัตน์ ผ่องพลีศาล 55 37,040
20 นายพนม แก้วประเสริฐ 54 14,140
21 นางนิ่มนวล น้อยวงศ์ 54 40,590
22 นายวีระชัย เนียมถาวร 54 36,660
23 นายวีรชัย แก้วประเสริฐ 54 33,540
24 นางวิภาวรรณ มาลาวัลย์ 54 33,540
25 นายสอน คำหมอง 53 14,970
26 นายบรรเจิด ผ่องพลีศาล 53 37,040
27 นางสาวนิตยา ชาลี 53 4,600
28 นางจันทร รังสิวุฒาภรณ์ 53 37,980
29 นางสาวระวีวรรณ อินทรประพันธ์ 53 30,380
30 นางมาลัย พุกกะณะสุต 52 31,960
31 นายชลิต ฉายกี่ 52 33,540
32 นางประนอม ฉายกี่ 51 33,540
33 นายจรูญ พณิชนันทเวช 51 14,970
34 นางลำพูน กระแซง 51 30,360
35 นายเรวัตร น้อยวงศ์ 51 37,320
36 นางวรีวรรณ โขนงนุช 51 39,870
37 นายสมโภชน์ ดีเอี่ยม 51 33,540
38 นางสุนทรีรัตน์ มหาปัญญาวงศ์ 50 37,320
39 นางวาลี เนียมถาวร 50 35,360
40 นายสุรวิทย์ รังสิวุฒาภรณ์ 50 25,540
41 นายวสันต์ งามดี 49 27,200
42 นางสมศรี เขื่อนเงิน 49 4,600
43 นายสิทธิชัย สิทธิสมพงศ์ 47 14,700
44 นายประกิต โฆสิต 47 18,910
45 นางจันทร์ นามกรณ์ 46 4,600
46 นายไพรัตน์ พลอยเจริญ 46 27,720
47 นางเฉลียว พลอยเจริญ 45 23,230
48 นางบุญส่ง นิราศ 44 4,600
49 นายชนินทร์ เกิดผล 44 22,860
50 นางพรพิมล พรมน้ำอ่าง 43 18,480
51 นางอรุณ คำคล่อง 43 4,600
52 นางพวงเพชร แก้วเกต 42 23,320
53 นางสาวไฉน อรุณเกล้า 41 21,980
54 นางสาววันเพ็ญ อ่อนดี 40 19,800
55 นายสว่าง จันทร์เจาะ 40 21,110
56 นายไพรวัลย์ ศิริ 39 6,000
57 นางรุ่งฤดี ทองแซม 39 21,540
58 นางสาวแสงเดือน พลมาก 39 12,880
59 นายวรดิฐ เกิดผล 38 17,590
60 นางศุทธินี จิตประพัฒน์ 38 20,220
61 นางจุฑามาส นาคำภา 38 7,940
62 นางสาวรุ่งนภา สังข์จันทร์ 38 22,420
63 นางสมศรี เขียวชะอุ่ม 37 17,150
64 นายอนุวัฒน์ วงศ์จันทรมณี 37 12,880
65 นายยุธยา คงพรม 37 17,150
66 นายปกครอง ศรีสุวรรณ 36 16,720
67 นายประธาน หาญณรงค์ 36 19,350
68 นายวิจักร แก้วประเสริฐ 36 11,700
69 นางสาวกนกพร นวมนาค 36 18,910
70 นางฉัตรแก้ว เหรา 36 7,930
71 นางสาวรำพู ช่างไชย 36 15,840
72 นายวิฑูรย์ เขียวชะอุ่ม 35 15,780
73 นายสมพงษ์ กลับเส็ง 35 15,780
74 นางสาวศิริวรรณ ขวัญมุข 34 10,190
75 นางสุพัตรา จั่นจีน 34 12,530
76 นางปาริชาติ อินต๊ะกัน 33 7,960
77 นายพยุงศักดิ์ แสนคำ 33 11,700
78 นางประภาวดี ทองเวียง 33 12,220
79 นายอดิวิชญ์ ทองหล่อ 32 7,940
80 นางสาวอนุตร พิกุลแกม 32 11,700
81 นางสาววิภาวี ใจซื่อดี 32 7,940
82 นายหาญ คันทา 32 4,630
83 นายประดิษฐ์ ท่าชัย 31 10,700
84 นางสาวประนอม จะปิน 31 9,320
85 นายฉัตรชัย ศรีสมบูรณ์ 31 12,880
86 นางสาวขวัญเรือน มงคลประดิษฐ์ 30 7,630
87 นายสายันต์ อินต๊ะกัน 30 11,700
88 นายปิยะ อุดมมงคล 30 7,690
89 นางสาวเนาวรัตน์ คำอ้ายล้าน 30 11,700
90 นายธนพล แก้วทิม 30 11,400
91 นายธีรยุทธ นาคำภา 30 7,940
92 นางพิชชากร มูลปานันท์ 30 10,470
93 นางนิภาวรรณ เจริญวัย 30 0
94 นางศศินา ไทยสาย 29 7,940
95 นางสาวกุลรวี อุปถัมภ์ 28 11,700
96 นางสาวปมาพร พืชเนาวรัตน์ 28 7,940
97 นางสาวสังเวียน แก้วหนู 27 7,940
98 นางสาวอภิรมย์ฤดี จันทร์เดช 27 10,179
99 นางสาวพรพักตร์ นนทธิ 27 7,940
100 นางสาวนาฏยา ขำคง 27 7,940
101 นายภานุพงศ์ ข้างจะงาม 26 7,940
102 นางสาวสุมลมาลย์ อมรมุนีพงศ์ 26 7,940
103 นางสาวธนิตา ทานศรีชาติ 26 7,940
104 นางสาวสาริณี ปรากฎวงศ์ 26 7,940
105 นางสาววิไล ชมชัย 26 7,940
106 นางสาวภัทธิราพร ชะม้าย 26 7,630
107 นางสาวอนงค์ บุญหล้า 26 7,960
108 นางสาวรัชนีกร ขวดแก้ว 26 7,940
109 นางสาววรวรรณ สำอางค์ 25 8,700
110 นางสาวมินตรา เขียวชะอุ่ม 25 9,230
111 นายอดิศักดิ์ รุ่งพรมหม 25 0
112 นางสาวกันนิกา บัวแก้ว 25 0
113 นางสาวพชรพรรณ อมรนพรัตนกุล 24 9,230
114 นางสาวลลิตา รัตนสุคนธ์วงศ์ 24 7,930
115 นางสาววรรณรัตน์ หลักแหลม 24 7,940
โครงการพัฒนาสถานที่และสิ่งแวดล้อม

รายละเอียดกิจกรรม/โครงการ
ลักษณะโครงการ ( / ) ต่อเนื่อง ( ) ใหม่
มาตรฐาน [ ] ด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่..............ตัวบ่งชี้ที่..............
มาตรฐาน [ ] ด้านการเรียนการสอน มาตรฐานที่..............ตัวบ่งชี้ที่..............
มาตรฐาน [ / ] ด้านการบริหารและการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 16 ตัวบ่งชี้ที่.16.1-16.5
มาตรฐาน [ / ] ด้านการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 17,18 ตัวบ่งชี้ที่ 17.1-17.2,
18.1-18.2
สนองกลยุทธ์กระทรวง ข้อที่................................ สนองกลยุทธ์ สพฐ. ข้อที่ 5,6
สนองกลยุทธ์ สพท. สท.2 ข้อที่ 5,6 สนองกลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 5,6

ที่มา ความสำคัญ หลักการและเหตุผล
สภาพภูมิทัศน์ ทัศนียภาพทั้งภายนอกและภายในรั้วชมพู-ขาวโรงเรียนเมืองเชลียงมีพื้นที่กว้าง มีการจัดวางผังบริเวณพื้นที่ตามโครงสร้างแผนผังอาคารไว้เป็นสัดส่วนที่ดี รอบขอบทางมีต้นไม้ปลูกประดับ มีการปลูกตกแต่งสวนหย่อมแบ่งกั้นอาคาร เพื่อการพัฒนาปรับปรุงโรงเรียนให้สวยงามและร่มรื่นยิ่งขึ้น เพราะโรงเรียนมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนทั้งในและนอกห้องเรียน มีสวนหย่อม ต้นไม้ แหล่งเรียนรู้ อุทยานการศึกษาอยู่หลายกลุ่มสาระการเรียนรู้ฯ เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจ และแหล่งเรียนรู้ในคาบกิจกรรมแนะแนวได้เป็นอย่างดียิ่ง ให้บริการชุมชนมาใช้สถานที่เป็นที่ออกกำลังกาย เล่นกีฬา จัดงานวันสำคัญทั้งภาครัฐและเอกชนอย่างต่อเนื่อง การพัฒนาอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนจึงมีความสำคัญมาก เป็นการโน้มน้าวจิตใจของนักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนให้รักโรงเรียน
การพัฒนาให้โรงเรียนน่าอยู่ เป็นที่รู้จักของชุมชนและบริการครู นักเรียน และชุมชนมากยิ่งขึ้น งานอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม จำเป็นต้องมีการปรับปรุง ต่อเติม ซ่อมแซม และพัฒนาอาคาร สถานที่และสิ่งแวดล้อมให้มีความพร้อม ความสมบูรณ์ สะดวก ปลอดภัย รวมทั้งดูแล ติดตามในเรื่องสาธารณูปโภคให้ดี
มีประสิทธิภาพ ใช้ได้เป็นปัจจุบัน เพื่อพัฒนานักเรียนให้เป็นคนเก่ง คนดี คนมีความสุข มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีคุณธรรม จริยธรรม รักสวยรักงาม ครูมีสถานที่ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ เพียงพอ
โรงเรียนมีสถานที่ที่สวยงาม ร่มรื่น สะดวก เหมาะสำหรับบริการชุมชน และไว้ให้ทุกฝ่ายช่วยกันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมสืบต่อไป




วัตถุประสงค์
1.โรงเรียนมีภูมิทัศน์ที่สวยงาม ร่มรื่น เป็นแหล่งเรียนรู้ภายนอกห้องเรียนได้
2.โรงเรียนมีอาคาร สถานที่ในสภาพที่มั่นคง แข็งแรง ปลอดภัย เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ของครูและนักเรียน
3.โรงเรียนมีสถานที่พร้อมในด้านการบริการชุมชน
4. นักเรียนและ ครูมีส่วนร่วมในการพัฒนา ดูแลความสะอาดของอาคารสถานที่

เป้าหมาย
1. ด้านปริมาณ
1.1 พื้นที่บริเวณสนามหญ้า สวนหย่อมภายในและ นอกบริเวณโรงเรียนและพื้นที่ทั่วโรงเรียนได้รับการดูแล รักษา ตกแต่งเพิ่มเติมให้สวยงาม
1.2 อาคารสถานที่ที่ใช้เป็นห้องเรียน ห้องกลุ่มงานต่างๆ อาคารประกอบในโรงเรียนอยู่ในสภาพมั่นคง แข็งแรง สร้างห้องน้ำอาคาร1 และดูแลห้องน้ำอื่นๆเป็นส้วมสุขสันต์ คือ สะอาด เพียงพอ และปลอดภัย (HAS)
2. ด้านคุณภาพ
2.1 บริเวณสถานที่และสิ่งแวดล้อมทั่วไปภายในและนอกบริเวณโรงเรียนอย่างน้อยร้อยละ 90มีการจัดระเบียบเป็นสัดส่วนของบริเวณพื้นที่ และอาคารมีความสะอาด ร่มรื่น สวยงามเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้และบริการชุมชน
2.2 นักเรียนอย่างน้อยร้อยละ 90 มีเจตคติที่ดีด้านการอนุรักษ์ ดูแลความสะอาดอาคารสถานที่ร่วมกัน

วิธีดำเนินการ
กิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ
1.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ กันยายน 2552 นายจำเริญ
2. แต่งตั้งคณะกรรมการ/ประชุมวางแผน กันยายน 2552 สุวรรณประสิทธิ์
3. ติดต่อประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กันยายน 2552 และคณะกรรมการ
4. ดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ต.ค.52-ก.ย.53 2,550,000 บาท อาคารสถานที่
5. ประเมินผล สรุป รายงานต่อผู้เกี่ยวข้อง มี.ค.53, ก.ย.53





ทรัพยากรที่ใช้ จำนวน 2,550,000 บาท
- ปรับปรุง ซ่อมแซมอาคารเรียน อาคารประกอบ ค่าสี ค่าแรงงาน 200,000 บาท
- ซ่อมแซมครุภัณฑ์ อุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอน สวนหย่อม ฯลฯ 200,000 บาท
- จัดทำโต๊ะม้านั่งกลางแจ้งแบบโครงเหล็กพื้นไม้หลังคาโค้ง Metal Sheet 15หลัง 200,000 บาท
- ติดตั้งพัดลมไอน้ำที่อาคาร 4 ชั้นล่าง 250,000 บาท
- จัดทำร่องระบายน้ำคอนกรีตข้างถนนหน้าอาคาร 1 ยาว 80 เมตร 50,000 บาท
- ปรับปรุงร้านจำหน่ายอาหารที่โรงอาหาร 200,000 บาท
- ทำรั้วลวดหนาม เสาคอนกรีตบริเวณรอบสระน้ำหลังอาคาร 3 100,000 บาท
- จัดทำ วางท่อสำหรับปลูกดอกไม้ตลอดแนวรั้วหน้าโรงเรียน 100,000 บาท
- ซ่อม บำรุง ปรับปรุงระบบไฟฟ้า ประปา 100,000 บาท
- จัดซื้อรถไถนาเพื่อใช้ในการเรียนวิชาเกษตรกรรมและตัดหญ้าสนามกีฬาฯลฯ 250,000 บาท
- ติดตั้งไฟฟ้าสปอร์ตไลท์ สนามฟุตบอล 50,000 บาท
- จัดทำส้วมสุขสันต์อาคาร 1 ค่าวัสดุ ครุภัณฑ์ แรงงาน 850,000 บาท

งบประมาณ
รายการ เงินอุดหนุน เงินงบประมาณ เงินอื่น ๆ รวมเป็นเงิน
ค่าวัสดุ 900,000 900,000
ค่าใช้สอย 750,000 750,000
ค่าครุภัณฑ์ 900,000 900,000
รวมเป็นเงิน 2,550,000 2,550,000


ผู้รับผิดชอบโครงการ / ผู้เกี่ยวข้อง
บทบาท / หน้าที่ รายละเอียดบทบาท ชื่อผู้เกี่ยวข้อง
อำนวยการโครงการ 1. อำนวยความสะดวกในการเสนอโครงการ
2. ให้ข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการปฏิบัติงาน
3. ช่วยแก้ปัญหาเมื่อเกิดปัญหา - ผู้อำนวยการโรงเรียน
- รองผู้อำนวยการโรงเรียน
- หัวหน้ากลุ่มบริหาร 5 กลุ่ม
-หัวหน้ากลุ่มสาระฯทุกกลุ่มสาระ




บทบาท / หน้าที่ รายละเอียดบทบาท ชื่อผู้เกี่ยวข้อง
ผู้ดำเนินกิจกรรม 1. ประชุม/วางแผนจัดกิจกรรมการปฏิบัติงาน กำหนดขอบข่ายงาน
2. ชี้แจงให้คณะกรรมการฝ่ายอาคารสถานที่ ลูกจ้างประจำ ลูกจ้างชั่วคราวที่ได้รับมอบหมายงานทราบ
3. จัดทำแผนการปฏิบัติงาน
4. ดำเนินงานตามแผนการปฏิบัติงาน
5. ประเมินผล สรุป รายงานผลการปฏิบัติงาน - นายจำเริญ สุวรรณประสิทธิ์
- คณะกรรมการฝ่ายอาคารสถานที่
- ลูกจ้างประจำและลูกจ้างชั่วคราว
ผู้เข้าร่วมโครงการ 1. ปฏิบัติงานตามขอบข่ายงานที่ได้รับมอบหมายให้สำเร็จ ลุล่วงด้วยดีและมีประสิทธิภาพ
2. สรุปรายงานผลการปฏิบัติงาน - นายวสันต์ งามดี
- นายสุรวิทย์ รังสิวุฒาภรณ์
- นายปิยะ อุดมมงคล
- ลูกจ้างประจำและลูกจ้างชั่วคราว
ผู้เกี่ยวข้อง หน่วยงานทางราชการ เช่น เทศบาลตำบลหาดเสี้ยวให้ความร่วมมือรักษาความสะอาดในการเก็บขยะ - เทศบาลตำบลหาดเสี้ยว

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เทศบาลตำบลหาดเสี้ยว

การติดตามประเมินผล
วิธีประเมินผล เครื่องมือประเมินผล เกณฑ์การประเมินผล ช่วงเวลาประเมินผล
- มอบหมายงานหน้าที่
รับผิดชอบ - สมุดบันทึกการทำงานที่มอบหมาย - ลูกจ้างประจำและลูกจ้างชั่วคราวร้อยละ90 ขึ้นไปปฏิบัติงานตามหน้าที่รับผิดชอบ - ทุกวันที่มอบหมายงานหน้าที่รับผิดชอบ
- ประเมินผลการปฏิบัติงานตามจุดที่มอบหมาย - แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน - ลูกจ้างประจำและลูกจ้างชั่วคราวร้อยละ 90 ปฏิบัติงานตามจุดที่ได้รับมอบหมายในระดับดีขึ้นไป - ทุกสัปดาห์
- สอบถามความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน - แบบสอบถามความพึงพอใจ - ลูกจ้างประจำและลูกจ้างชั่วคราวร้อยละ 90 มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับดีขึ้นไป - ทุกเดือน


ประโยชน์ / ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. สภาพแวดล้อมอาคารสถานที่ และสิ่งของ เครื่องใช้ด้านสาธารณูปโภคร้อยละ 90 มีความสะอาดเรียบร้อย สวยงาม และมีประสิทธิภาพต่อการใช้งาน
2. สภาพแวดล้อมอาคารสถานที่ ร้อยละ 90 สามารถบริการชุมชนได้
3. นักเรียนร้อยละ 90 ตระหนักถึงการช่วยกันอนุรักษ์ รักษาสิ่งแวดล้อมอาคาร สถานที่ และมี
เจตคติที่ดีต่อโรงเรียน

โครงการอื่นที่สัมพันธ์กับโครงการนี้
1.โครงการทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้โรงเรียนเมืองเชลียง
2. โครงการครูเวรประจำวันของกลุ่มบริหารกิจการนักเรียน

ลงชื่อ...............................................ผู้เสนอโครงการ ลงชื่อ...............................................ผู้เห็นชอบ
(นายจำเริญ สุวรรณประสิทธิ์) (นางราตรี สุวรรณประสิทธิ์)
หัวหน้าโครงการพัฒนาอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม หัวหน้ากลุ่มงานบริหารทั่วไป

ลงชื่อ...............................................ผู้เสนออนุมัติ ( ) อนุมัติ ( ) ไม่อนุมัติ
(นางนิ่มนวล น้อยวงศ์) ( ) อื่น ๆ ...............................................
หัวหน้ากลุ่มบริหารงบประมาณ ลงชื่อ............................................... (นายวิทยา ทองอยู่)
ผู้อำนวยการโรงเรียนเมืองเชลียง
………../……………../…………..

ลงชื่อ............................................... (นายเกตุ วงศ์จันทรมณี)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนเมืองเชลียง
………../……………../…………..

โครงการพัฒนาสำนักงานบริหารทั่วไป

รายละเอียดกิจกรรม/โครงการ
ลักษณะกิจกรรม/โครงการ ( / ) ต่อเนื่อง ( ) ใหม่
มาตรฐาน [ ] ด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่..............ตัวบ่งชี้ที่..............
มาตรฐาน [ ] ด้านการเรียนการสอน มาตรฐานที่..............ตัวบ่งชี้ที่..............
มาตรฐาน [ / ] ด้านการบริหารและการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 12 ตัวบ่งชี้ที่ 12.1,12.2
มาตรฐาน [ ] ด้านการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานที่..............ตัวบ่งชี้ที่..............
สนองกลยุทธ์กระทรวง ข้อที่................................ สนองกลยุทธ์ สพฐ. ข้อที่ 4
สนองกลยุทธ์ สพท. สท.2 ข้อที่ 4 สนองกลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 4

ที่มา ความสำคัญ หลักการและเหตุผล
ในปีงบประมาณ 2553 โรงเรียนเมืองเชลียงได้แบ่งโครงสร้างการบริหารงานเป็น 5 กลุ่มงาน เพื่อให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ เป็นระบบ บรรลุผลตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์ของโรงเรียน ได้แก่ กลุ่มบริหารทั่วไป กลุ่มบริหารงานบุคคล กลุ่มบริหารวิชาการ กลุ่มบริหารงบประมาณ และกลุ่มบริหารกิจการนักเรียน
กลุ่มบริหารทั่วไป เป็นกลุ่มงานหนึ่งที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารสถานศึกษา มีหน้าที่จัดองค์กร การบริหาร จัดโครงสร้างการบริหาร กำหนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบและมาตรฐานการปฏิบัติงาน จัดครูและบุคลากรรับผิดชอบงานตามโครงสร้าง บริหารงานด้วยระบบการวางแผน (P) การนำไปสู่การปฏิบัติ (D)
การควบคุม กำกับ นิเทศ ติดตามและประเมินผล (C) และการปรับปรุงและพัฒนา (A) จำเป็นต้องพัฒนาองค์กรและระบบบริหารราชการให้มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม โดยจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี คู่มือการบริหารสถานศึกษา
การบริหารระบบข้อมูลสารสนเทศ การวางแผน การปฏิบัติ การตรวจสอบ ติดตาม การปรับปรุงและพัฒนา ต้องมีการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศที่ครอบคลุมทุกกลุ่มงาน และข้อมูลสนับสนุนต่างๆ เช่น ข้อมูลองค์กรชุมชน แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกสถานศึกษา ภูมิปัญญาท้องถิ่น ฯลฯที่เป็นระบบ ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ และเป็นปัจจุบัน สามารถเชื่อมโยงเข้าระบบเครือข่ายของหน่วยงานต้นสังกัดได้

วัตถุประสงค์
1 .เพื่อให้บุคลากรในห้องบริหารทั่วไปมีวัสดุ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ใช้ในการปฏิบัติงานรวดเร็ว พอเพียง และมีประสิทธิภาพ ทำงานเป็นระบบ
2 . เพื่อให้บุคลากรงานสารบรรณและงานอื่นในห้องบริหารทั่วไปใช้ข้อมูลสารสนเทศในการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ถูกต้อง รวดเร็ว ครบถ้วน สมบูรณ์ และเป็นปัจจุบัน
3. เพื่อให้บุคลากรทุกฝ่ายได้ใช้บริการสืบค้นข้อมูล ติดต่องานสะดวก รวดเร็วด้วยความพึงพอใจ

เป้าหมาย
1. ด้านปริมาณ
1.1 ห้องกลุ่มบริหารทั่วไปมีวัสดุ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ และแผนปฏิบัติการประจำปีใช้ในการปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรร้อยละ 90 ขึ้นไป
1.2. บุคลากรในห้องบริหารทั่วไป ร้อยละ 90 ขึ้นไปใช้ข้อมูลสารสนเทศในการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ถูกต้อง รวดเร็ว ครบถ้วน สมบูรณ์ และเป็นปัจจุบัน
1.3 บุคลากรทุกฝ่ายร้อยละ 90 ขึ้นไปได้ใช้บริการสืบค้นข้อมูล ติดต่องานสะดวก รวดเร็วด้วยความพึงพอใจ
2 ด้านคุณภาพ
2.1 ห้องกลุ่มบริหารทั่วไปมีวัสดุ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ และแผนปฏิบัติการประจำปีใช้ในการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ
2.2 บุคลากรในห้องบริหารทั่วไป สามารถใช้ข้อมูลสารสนเทศในการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ถูกต้อง รวดเร็ว ครบถ้วน สมบูรณ์ และเป็นปัจจุบัน
2.3 บุคลากรทุกฝ่ายมีความพึงพอใจในใช้บริการสืบค้นข้อมูล ติดต่องานอยู่ในระดับดีขึ้นไป

วิธีดำเนินการ
กิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ
1. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ กันยายน 2552 นางลำพูน กระแซง
2. ประชุม/วางแผนดำเนินโครงการ กันยายน 2552 และคณะกรรมการ
3. ดำเนินการตามโครงการ ต.ค.52-ก.ย. 53 130,000 บริหารทั่วไป
4. ประเมินผล สรุปงาน รายงานผู้เกี่ยวข้อง ตุลาคม 2553


ทรัพยากรที่ใช้
1. วัสดุ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์สำนักงาน ตู้ใส่เอกสาร กล่องใส่เอกสาร และอื่นๆ 110,000 บาท
2. จัดซื้อ-จัดจ้าง ปรับปรุงสำนักงานบริหารทั่วไปตามความจำเป็น 20,000 บาท

งบประมาณ จำนวน 130,000 บาท
รายการ เงินอุดหนุน เงินงบประมาณ เงินอื่น ๆ รวมเป็นเงิน
ค่าวัสดุ 75,000 75,000
ค่าใช้สอย 20,000 20,000
ค่าครุภัณฑ์ 35,000 35,000
รวมเป็นเงิน 130,000 130,000

ผู้รับผิดชอบโครงการ / ผู้เกี่ยวข้อง
บทบาท / หน้าที่ รายละเอียดบทบาท ชื่อผู้เกี่ยวข้อง
อำนวยการโครงการ 1. อำนวยความสะดวกในการเสนอโครงการ
2. ให้ข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการปฏิบัติงาน
3. ช่วยแก้ปัญหาเมื่อเกิดปัญหา - ผู้อำนวยการโรงเรียน
- รองผู้อำนวยการโรงเรียน
- หัวหน้ากลุ่มบริหาร 5 กลุ่ม
-หัวหน้ากลุ่มสาระฯทุกกลุ่มสาระ

ผู้ดำเนินกิจกรรม 1. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
2. ประชุม/วางแผนดำเนินโครงการ
3. ดำเนินการตามโครงการ
4. ประเมินผล สรุปงาน รายงานผู้เกี่ยวข้อง - นางลำพูน กระแซง
และคณะกรรมการบริหารทั่วไป
ผู้เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการประสานงาน ให้คำปรึกษา แนะนำ ร่วมใช้งานและร่วมดำเนินการจัดซื้อ-จัดจ้าง และติดต่องาน - กลุ่มบริหารงบประมาณ
- กลุ่มบริหารงานบุคคล
- กลุ่มบริหารวิชาการ
- กลุ่มบริหารกิจการนักเรียน


หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1. กลุ่มบริหารงบประมาณ
2. กลุ่มบริหารงานบุคคล
3. กลุ่มบริหารวิชาการ
4. กลุ่มบริหารกิจการนักเรียน


การติดตามประเมินผล
วิธีประเมินผล เครื่องมือประเมินผล เกณฑ์การประเมินผล ช่วงเวลาประเมินผล
- สอบถามความคิดเห็น
การใช้ห้องบริหารทั่วไปและติดต่องาน - แบบสอบถามความคิดเห็น - แบบสอบถามความคิดเห็นอยู่ในระดับดีขึ้นไป - มีนาคม 2553 และ
กันยายน 2553
- สังเกตการใช้บริการงานบริหารทั่วไป - แบบสังเกต - แบบสังเกตอยู่ในระดับดีขึ้นไป - มีนาคม 2553 และ
กันยายน 2553


ประโยชน์ / ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ห้องกลุ่มบริหารทั่วไปมีวัสดุ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ และแผนปฏิบัติการประจำปีใช้ในการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ
2 . บุคลากรในห้องบริหารทั่วไป สามารถใช้ข้อมูลสารสนเทศในการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ถูกต้อง รวดเร็ว ครบถ้วน สมบูรณ์ และเป็นปัจจุบัน
3. บุคลากรทุกฝ่ายมีความพึงพอใจในใช้บริการสืบค้นข้อมูล ติดต่องานอยู่ในระดับดีขึ้นไป

โครงการอื่นที่สัมพันธ์กับโครงการนี้
1......................................................................................................................................................

ลงชื่อ...............................................ผู้เสนอโครงการ ลงชื่อ...............................................ผู้เห็นชอบ
(นางลำพูน กระแซง) (นางราตรี สุวรรณประสิทธิ์)
หัวหน้าโครงการปรับปรุงสำนักงานบริหารทั่วไป หัวหน้ากลุ่มงานบริหารทั่วไป

ลงชื่อ...............................................ผู้เสนออนุมัติ ( ) อนุมัติ ( ) ไม่อนุมัติ
(นางนิ่มนวล น้อยวงศ์) ( ) อื่น ๆ ...............................................
หัวหน้ากลุ่มบริหารงบประมาณ ลงชื่อ............................................... (นายวิทยา ทองอยู่)
ผู้อำนวยการโรงเรียนเมืองเชลียง
………../……………../…………..
ลงชื่อ............................................... (นายเกตุ วงศ์จันทรมณี)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนเมืองเชลียง
………../……………../…………..
โครงการพัฒนางานประชาสัมพันธ์

รายละเอียดกิจกรรม/โครงการ
ลักษณะกิจกรรม/โครงการ ( / ) ต่อเนื่อง ( ) ใหม่
มาตรฐาน [ ] ด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่..............ตัวบ่งชี้ที่..............
มาตรฐาน [ ] ด้านการเรียนการสอน มาตรฐานที่..............ตัวบ่งชี้ที่..............
มาตรฐาน [ / ] ด้านการบริหารและการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 18 ตัวบ่งชี้ที่ 18.1,18.2
มาตรฐาน [ ] ด้านการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานที่..............ตัวบ่งชี้ที่..............
สนองกลยุทธ์กระทรวง ข้อที่................................ สนองกลยุทธ์ สพฐ. ข้อที่ 6
สนองกลยุทธ์ สพท. สท.2 ข้อที่ 6 สนองกลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 6

ที่มา ความสำคัญ หลักการและเหตุผล
งานประชาสัมพันธ์ เป็นงานที่จัดอยู่ในกลุ่มบริหารทั่วไปตามโครงสร้างการบริหารของโรงเรียน
มีหน้าที่เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารต่างๆ ข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียนให้ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชน ทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชนได้รับทราบ เช่น เผยแพร่ความก้าวหน้าในการบริหารจัดการด้านการเรียนการสอน กิจกรรมต่างๆที่ทางโรงเรียนได้จัดขึ้นตามนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตลอดจนข่าวสารความเคลื่อนไหวของประเทศ ด้านการศึกษา การเมือง เศรษฐกิจ สาธารณสุขและอื่นๆที่จะส่งผลให้นักเรียนได้รู้ข่าวทันโลกปัจจุบันมากยิ่งขึ้น
การประชาสัมพันธ์ทั้งนอกโรงเรียนและในโรงเรียนในรูปแบบที่หลากหลาย เช่น เอกสารแผ่นพับ วารสาร แจ้งข้อมูลทางเว็บไซด์ของโรงเรียน จัดรายการระบบเสียงตามสาย และวิทยุชุมชน เป็นการสร้างความเข้าใจ ความสัมพันธ์อันดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชน

วัตถุประสงค์
1 . เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรียนแก่บุคลากรทั้งภายในและนอกโรงเรียน
2 . เพื่อสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างบุคลากรในองค์กรและชุมชนที่มีส่วนร่วม
3. เพื่ออบรมนักเรียนให้เป็นเยาวชนนักประชาสัมพันธ์

เป้าหมาย
1. ด้านปริมาณ
1.1 นักเรียนโรงเรียนเมืองเชลียงและบุคลากรในโรงเรียนร้อยละ 80 ขึ้นไป รับทราบข้อมูล ข่าวสาร และสารสนเทศของโรงเรียน
1.2 ชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนร้อยละ 80 ขึ้นไป รับทราบข้อมูล ข่าวสาร และสารสนเทศของโรงเรียน
1.3 นักเรียนจำนวน 20 คนได้เข้ารับการอบรมเป็นเยาวชนนักประชาสัมพันธ์
2 ด้านคุณภาพ
2.1 นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน รับทราบข้อมูล ข่าวสาร และสารสนเทศของโรงเรียนเป็นอย่างดี
2.2 ชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนรับทราบข้อมูล ข่าวสาร และสารสนเทศของโรงเรียนเป็นอย่างดี
2.3 นักเรียนที่มีความสามารถได้เข้ารับการอบรมเป็นเยาวชนนักประชาสัมพันธ์ที่มีคุณภาพ
วิธีดำเนินการ
กิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ
1. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ กันยายน 2552 นางสาวระวีวรรณ
2. แต่งตั้งคณะกรรมการ/ประชุมวางแผน กันยายน 2552 อินทรประพันธ์
3. ดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ต.ค.52-มี.ค.53 56,800 และคณะกรรมการ
4. ประเมินผล สรุปผลรายงานผู้เกี่ยวข้อง มี.ค.53, ต.ค.53 งานประชาสัมพันธ์




ทรัพยากรที่ใช้ จำนวน 56,800 บาท
- ค่าวัสดุ ครุภัณฑ์ในการดำเนินงานห้องประชาสัมพันธ์ 10,000 บาท
- ค่าจัดทำเอกสาร แผ่นพับ และวารสาร 35,000 บาท
- ค่าใช้จ่ายในการจัดรายการออกเสียงตามสาย 5,000 บาท
- ค่าใช้จ่ายในการอบรมเยาวชนนักประชาสัมพันธ์ 6,800 บาท

งบประมาณ จำนวน 56,800 บาท
รายการ เงินอุดหนุน เงินงบประมาณ เงินอื่น ๆ รวมเป็นเงิน
ค่าวัสดุ 6,800 6,800
ค่าใช้สอย 40,000 40,000
ค่าครุภัณฑ์ 10,000 10,000
รวมเป็นเงิน 56,800 56,800



ผู้รับผิดชอบโครงการ / ผู้เกี่ยวข้อง
บทบาท / หน้าที่ รายละเอียดบทบาท ชื่อผู้เกี่ยวข้อง
อำนวยการโครงการ 1. อำนวยความสะดวกในการเสนอโครงการ
2. ให้ข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการปฏิบัติงาน
3. ช่วยแก้ปัญหาเมื่อเกิดปัญหา - ผู้อำนวยการโรงเรียน
- รองผู้อำนวยการโรงเรียน
- หัวหน้ากลุ่มบริหาร5 กลุ่ม
-หัวหน้ากลุ่มสาระฯทุกกลุ่มสาระ

ผู้ดำเนินกิจกรรม/โครงการ 1. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
2. ประชุม/วางแผนจัดผู้รับผิดชอบในขอบข่ายงานประชาสัมพันธ์
3. วางแผนการจัด ตกแต่งห้องประชาสัมพันธ์พร้อมอุปกรณ์
4. กำหนดวัน เวลาจัดทำเอกสาร
แผ่นพับ วารสารโรงเรียน
5. กำหนดวัน เวลา จัดรายการออกเสียงตามสาย และวิทยุชุมชน
6. กำหนดวัน เวลา จัดอบรมเยาวชน
นักประชาสัมพันธ์
7. ประเมินผล สรุปงาน รายงานผู้เกี่ยวข้อง - นางสาวระวีวรรณ อินทรประพันธ์ และคณะกรรมการงานประชาสัมพันธ์
ผู้เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการประสานงาน ให้คำปรึกษา ให้ข้อมูล แนะนำ ร่วมใช้งานและร่วมดำเนินการ - กรรมการงานโสตทัศนศึกษา
- กรรมการศูนย์คอมพิวเตอร์
- กรรมการศูนย์สารสนเทศ
- หัวหน้ากลุ่มสาระฯทุกกลุ่มฯ


หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1. งานโสตทัศนศึกษา/ศูนย์คอมพิวเตอร์/ศูนย์สารสนเทศโรงเรียน
2. อำเภอศรีสัชนาลัย
3. องค์การบริหารส่วนตำบลในอำเภอศรีสัชนาลัย 7 แห่ง
4. เทศบาลตำบลหาดเสี้ยว
5. วิทยุชุมชนในเขตพื้นที่อำเภอศรีสัชนาลัย

การติดตามประเมินผล
วิธีประเมินผล เครื่องมือประเมินผล เกณฑ์การประเมินผล ช่วงเวลาประเมินผล
สอบถามความพึงพอใจนักเรียน บุคลากรในโรงเรียนและชุมชน แบบสอบถาม นักเรียน บุคลากรในโรงเรียนและชุมชนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับดีขึ้นไป มีนาคม 2553 และ
ตุลาคม 2553

ประโยชน์ / ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน รับทราบข้อมูล ข่าวสาร และสารสนเทศของโรงเรียนเป็นอย่างดี
2 . ชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนรับทราบข้อมูล ข่าวสาร และสารสนเทศของโรงเรียนเป็นอย่างดี

โครงการอื่นที่สัมพันธ์กับโครงการนี้
1. โครงการทุกโครงการของโรงเรียน


ลงชื่อ....................................................ผู้เสนอโครงการ ลงชื่อ...............................................ผู้เห็นชอบ
(นางสาวระวีวรรณ อินทรประพันธ์) (นางราตรี สุวรรณประสิทธิ์)
หัวหน้าโครงการพัฒนางานประชาสัมพันธ์ หัวหน้ากลุ่มงานบริหารทั่วไป

ลงชื่อ...............................................ผู้เสนออนุมัติ ( ) อนุมัติ ( ) ไม่อนุมัติ
(นางนิ่มนวล น้อยวงศ์) ( ) อื่น ๆ ...............................................
หัวหน้ากลุ่มบริหารงบประมาณ ลงชื่อ............................................... (นายวิทยา ทองอยู่)
ผู้อำนวยการโรงเรียนเมืองเชลียง
………../……………../…………..

ลงชื่อ............................................... (นายเกตุ วงศ์จันทรมณี)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนเมืองเชลียง
………../……………../…………..









โครงการพัฒนางานบุคลากร

รายละเอียดกิจกรรม/โครงการ
ลักษณะกิจกรรม/โครงการ ( / ) ต่อเนื่อง ( ) ใหม่
มาตรฐาน [ ] ด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่..............ตัวบ่งชี้ที่..............
มาตรฐาน [ ] ด้านการเรียนการสอน มาตรฐานที่..............ตัวบ่งชี้ที่..............
มาตรฐาน [ / ] ด้านการบริหารและการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 12 ตัวบ่งชี้ที่ 12.4
มาตรฐาน [ ] ด้านการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานที่..............ตัวบ่งชี้ที่..............
สนองกลยุทธ์กระทรวง ข้อที่................................ สนองกลยุทธ์ สพฐ. ข้อที่ 6
สนองกลยุทธ์ สพท. สท.2 ข้อที่ 6 สนองกลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ 6

ที่มา ความสำคัญ หลักการและเหตุผล
กลุ่มบริหารงานบุคคลเป็นกลุ่มงานหนึ่งในโครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนเมืองเชลียง ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบในการแนะนำ เผยแพร่ และดำเนินการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีสมรรถนะเหมาะสมกับบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบให้เป็นไปตามระเบียบของทางราชการ จัดทำแผนงานและแผนอัตรากำลังของบุคลากรในสถานศึกษา จัดทำทะเบียนประวัติ ดำเนินการเกี่ยวกับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากร ดำเนินการงานตรวจสอบภายใน งานวินัยและกฎหมาย ควบคุม จัดทำสถิติ รายงานเกี่ยวกับการลงเวลาปฏิบัติราชการ ให้คำแนะนำ อำนวยความสะดวกแก่บุคลากร เช่น การขอมีบัตรประจำตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ การขอแก้ไขทะเบียนประวัติ การออกหนังสือรับรอง การขอเปลี่ยนตำแหน่ง การขอมีและเลื่อนตำแหน่งวิทยฐานะ การขอรับเงินบำเหน็จบำนาญและเงินทดแทน มีข้อมูลสารสนเทศด้านบุคลากรเพื่อการพัฒนาและการสร้างแรงจูงใจอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ มีระบบการประเมิน การนิเทศการปฏิบัติงานเพื่อส่งเสริมความก้าวหน้าในวิชาชีพและจัดหาสวัสดิการที่เป็นธรรมอย่างทั่วถึง

วัตถุประสงค์
1. บุคลากรในโรงเรียนได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะเหมาะสมกับบทบาทหน้าที่
2 .จัดทำทะเบียนประวัติและข้อมูลสารสนเทศของบุคลากรในโรงเรียน
3 .สร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานและสร้างแรงจูงใจในการทำงานอย่างต่อเนื่อง

เป้าหมาย
1. ด้านปริมาณ
1.1. บุคลากรร้อยละ 80 ขึ้นไปได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะเหมาะสมกับบทบาทหน้าที่
1.2. บุคลากรร้อยละ 80 ขึ้นไปมีทะเบียนประวัติและข้อมูลสารสนเทศในโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง
1.3 บุคลากรร้อยละ 80 ขึ้นไปมีขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานและมีแรงจูงใจในการทำงาน
2 ด้านคุณภาพ
2.1 บุคลากรได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะเหมาะสมกับบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ
2.2 โรงเรียนมีทะเบียนประวัติและข้อมูลสารสนเทศของบุคลากรในโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง
2.3 บุคลากรมีขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานและมีแรงจูงใจในการทำงาน

วิธีดำเนินการ
กิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ
1. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ กันยายน 2552 นางสุพัตรา จั่นจีน
2. ประชุม/วางแผนดำเนินโครงการ กันยายน 2552 และกรรมการ
3. ดำเนินการตามโครงการ ต.ค.52-ก.ย. 53 35,000 กลุ่มบริหารงาน
4. ประเมินผล สรุปงาน รายงานผู้เกี่ยวข้อง ตุลาคม 2553 บุคคล



ทรัพยากรที่ใช้
- เครื่องคอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง ราคาประมาณ 20,000 บาท
- หมึกพิมพ์ กระดาษเอ 4 สี แฟ้มใส่เอกสาร กล่องใส่เอกสาร แผ่น CD/DVD
ปากกาเป็นของขวัญวันเกิดบุคลากร และวัสดุอื่นๆ 15,000 บาท

งบประมาณ จำนวน 35,000 บาท
รายการ เงินอุดหนุน เงินงบประมาณ เงินอื่น ๆ รวมเป็นเงิน
ค่าวัสดุ 15,000 15,000
ค่าใช้สอย
ค่าครุภัณฑ์ 20,000 20,000
รวมเป็นเงิน 35,000 35,000






ผู้รับผิดชอบโครงการ / ผู้เกี่ยวข้อง
บทบาท / หน้าที่ รายละเอียดบทบาท ชื่อผู้เกี่ยวข้อง
อำนวยการโครงการ 1. อำนวยความสะดวกในการเสนอโครงการ
2. ให้ข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการปฏิบัติงาน
3. ช่วยแก้ปัญหาเมื่อเกิดปัญหา - ผู้อำนวยการโรงเรียน
- รองผู้อำนวยการโรงเรียน
- หัวหน้ากลุ่มบริหาร 5 กลุ่ม
-หัวหน้ากลุ่มสาระฯทุกกลุ่มสาระ

ผู้ดำเนินกิจกรรม 1. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
2. ประชุม/วางแผนดำเนินโครงการ
3. ดำเนินการตามโครงการ
4. ประเมินผล สรุปงาน รายงานผู้เกี่ยวข้อง - นางสุพัตรา จั่นจีน
- นางสาววันเพ็ญ อ่อนดี
- นางสาวพรพักตร์ นนทธิ
- หัวหน้ากลุ่มบริหารงานบุคคล
ผู้เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการประสานงาน ให้คำปรึกษา ให้ข้อมูล แนะนำ ร่วมใช้งานและร่วมดำเนินการ - กลุ่มบริหารวิชาการ
- กลุ่มบริหารงบประมาณ
- กลุ่มบริหารทั่วไป

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1. กลุ่มบริหารวิชาการ
2. กลุ่มบริหารงบประมาณ
3. กลุ่มบริหารทั่วไป

การติดตามประเมินผล
วิธีประเมินผล เครื่องมือประเมินผล เกณฑ์การประเมินผล ช่วงเวลาประเมินผล
- รายงานภาระงานขั้นต่ำ - แบบรายงานภาระงานขั้นต่ำ - บุคลากรมากกว่าร้อยละ 90ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก มีนาคม 2553 และ
กันยายน 2553
- บันทึกทะเบียนประวัติและข้อมูลสารสนเทศของบุคลากร - แบบกรอกทะเบียนประวัติ (ก.พ. 7) และข้อมูลในคอมพิวเตอร์ - บุคลากรมากกว่าร้อยละ 90 มีข้อมูลในเอกสารและในคอมพิวเตอร์ถูกต้อง เมษายน 2553 และ
ตุลาคม 2553
- แจกปากกาครูในวันคล้ายวันเกิดและทำประกันชิวิตกลุ่มให้ครูทุกคนฟรี - สังเกต ซักถาม
ความพึงพอใจ - บุคลากรมากกว่าร้อยละ 90 มีความพึงพอใจ มีกำลังใจในการปฏิบัติงาน ตลอดปีงบประมาณ 2553



ประโยชน์ / ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. บุคลากรได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะเหมาะสมกับบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ
2 .โรงเรียนมีทะเบียนประวัติและข้อมูลสารสนเทศของบุคลากรในโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง
3. บุคลากรมีขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานและมีแรงจูงใจในการทำงาน

โครงการอื่นที่สัมพันธ์กับโครงการนี้
1......................................................................................................................................................
2......................................................................................................................................................

ลงชื่อ....................................................ผู้เสนอโครงการ ลงชื่อ...............................................ผู้เห็นชอบ
(นางสุพัตรา จั่นจีน) (นางราตรี สุวรรณประสิทธิ์)
หัวหน้าโครงการพัฒนางานบุคลากร หัวหน้ากลุ่มบริหารงานบุคคล

ลงชื่อ...............................................ผู้เสนออนุมัติ ( ) อนุมัติ ( ) ไม่อนุมัติ
(นางนิ่มนวล น้อยวงศ์) ( ) อื่น ๆ ...............................................
หัวหน้ากลุ่มบริหารงบประมาณ ลงชื่อ............................................... (นายวิทยา ทองอยู่)
ผู้อำนวยการโรงเรียนเมืองเชลียง
………../……………../…………..

ลงชื่อ............................................... (นายเกตุ วงศ์จันทรมณี)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนเมืองเชลียง
………../……………../…………..
ประวัติโรงเรียนเมืองเชลียง




โรงเรียนเมืองเชลียง ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2499 โดยมี นายชำนาญ วงศ์วิเศษ อดีตกำนันตำบลหาดเสี้ยวเป็นหัวหน้า ขออนุญาตต่อกระทรวงศึกษาธิการให้เปิดเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น กระทรวงศึกษาธิการให้เปิดสอนได้เมื่อต้นปี พ.ศ. 2499 แบบสหศึกษา โดยใช้สถานที่ครั้งแรกที่โรงเรียนปริยัติธรรม วัดหาดเสี้ยว พระครูบวรธรรมานุศาสก์ เป็นผู้อุปถัมภ์ เปิดเรียนชั้นมัธยมปีที่ 4 (ม.4) แบบสหศึกษา มีนักเรียน 33 คน เป็นชาย 24 คน หญิง 9 คน
พ.ศ. 2500 จังหวัดได้ย้ายไปทำการสอนที่โรงเรียนศรีสัชนาลัย เปิดเรียนชั้นมัธยมปีที่ 5 (ม.5) เพิ่มขึ้น จัดห้องเรียนแบบ 2 - 1 มีนักเรียน รวม 85 คน
พ.ศ. 2501 ย้ายไปทำการสอนที่อาคารชั่วคราว ซึ่งปลูกสร้างโดยประชาชนในที่ดินของโรงเรียน เปิดเรียนชั้นมัธยมปีที่ 6 (ม.6) เพิ่มขึ้นจัดห้องเรียนแบบ 2 - 2 - 1 รวม 5 ห้องเรียน มีนักเรียน รวม 162 คน ประชาชนและครูสร้างอาคารสองชั้น ขนาด 8x40 ม. 10 ห้องเรียน
พ.ศ. 2502 จัดห้องเรียนแบบ 2 - 2 - 2 รวม 6 ห้องเรียน มีนักเรียน 178 คน และได้จัดห้องเรียนแบบ 2 - 2 -2 จนถึงปี พ.ศ. 2511
พ.ศ. 2505 ได้งบประมาณ 100,000 บาท สร้างอาคารเรียนชั้นเดียวขนาด 8x27 ม.
พ.ศ. 2510 ได้งบประมาณก่อสร้างบ้านพักภารโรง 1 หลัง ขนาด 5 x 6 ม. ราคา 20,000.- บาทและได้ต่อเติมอาคารอาคารเรียน 2 ชั้น ที่ประชาชนและคณะครูสร้างขึ้น เป็นเงิน 100,000 บาท
พ.ศ. 2513 โรงเรียนได้งบประมาณก่อสร้างอาคารคหกรรม 1 หลัง ราคา 70,000 บาท อาคารอุตสาหกรรม 1 หลัง ราคา 120,000.- บาท อาคารเรียนแบบ 212 ก ขนาด 10 ห้องเรียน
ราคา 720,000.- บาท และบ้านพักครู 2 หลัง ราคา 100,000 บาท.- (โรงเรียนได้รับอนุญาตให้อยู่ในโครงการ ค.ม.ช. รุ่น 7 และ ค.ม.ส. 2 รุ่น 5)
พ.ศ. 2514 โรงเรียนได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารอาชีวเกษตร 1 หลัง ราคา 120,000.-บาท
เรือนเพาะชำ 1 หลัง ราคา 20,000.- บาท หอประชุมโรงอาหาร 1 หลัง ราคา 200,000.- บาท บ้านพักครู 2 หลัง ราคา 100,000.- บาท
พ.ศ. 2515 โรงเรียนได้รับงบประมาณก่อสร้างบ้านพักครู 1 หลัง ราคา 50,000.- บาท ส้วม 1 หลัง ราคา 30,000.- บาท
พ.ศ. 2516 โรงเรียนได้รับงบประมาณก่อสร้างบ้านพักครู 2 หลัง ราคา 100,000.- บาท แต่ผู้รับเหมาขอถอนสัญญา เพราะวัสดุขึ้นราคาไม่อาจก่อสร้างได้
พ.ศ. 2517 โรงเรียนได้รับงบประมาณก่อสร้างบ้านพักครู 1 หลัง ราคา 50,000.- บาท ดำเนินการสืบราคา แล้วก่อสร้างไม่ได้
พ.ศ. 2518 โรงเรียนได้รับงบประมาณก่อสร้างบ้านพักครู 3 หลัง ราคา 540,000 บาท
พ.ศ. 2519 โรงเรียนได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนแบบ 216ก จำนวน 8 ห้องเรียนราคา 1,040,000
บาท และต่อเติมอาคารเรียนแบบ 212 จำนวน 4 ห้องเรียน ราคา 350,000 บาท บ้านพักครู 2 หลัง ราคา 160,000 บาท ส้วม 2 หลัง ราคา 58,000 บาท
พ.ศ. 2520 โรงเรียนได้รับงบประมาณก่อสร้างประปา 1 ถัง ราคา 93,000 บาท บ้านพักครู 1 หลัง ราคา 70,000 บาท และส้วม 1 หลัง ราคา 40,000 บาท
พ.ศ. 2521 โรงเรียนได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนชั่วคราว 1 หลัง 7 ห้องเรียน ราคา 210,000 บาท
พ.ศ. 2522 โรงเรียนได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนต่อเติมแบบ 216ก 8 ห้องเรียน ราคา 1,250,000 บาท บ้านพักครู 1 หลัง ราคา 100,000 บาท
พ.ศ. 2524 ได้รับงบประมาณก่อสร้างบ้านพักครู 1 หลัง ราคา 191,000 บาท
พ.ศ. 2525 ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียน 1 หลัง แบบ 216ก ราคา 4,300,000 บาท ประมูลแล้วเหลือเงินอีก 800,000 บาท โรงเรียนได้ขออนุมัติสำนักงบประมาณ 780,000 บาท ใช้ถมดินหน้า อาคารเรียนหลังใหม่
พ.ศ. 2527 ได้รับงบประมาณก่อสร้างหอถังน้ำ แบบ 9/9 จำนวน 1 หลัง ราคา 150,000 บาท
พ.ศ. 2538 ได้รับงบประมาณสร้างส้วมนักเรียนแบบ 6 ที่/27 ราคา 180,000 บาท
พ.ศ. 2539 ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารฝึกงานแบบ 102/27 ราคา 1,500,000 บาท
พ.ศ. 2539 โรงเรียนได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนแบบ 424 ล (พิเศษ) ราคา 15,000,000 บาท
พ.ศ. 2542 ได้รับงบประมาณปรับปรุงระบบกระแสไฟฟ้าภายในโรงเรียน ราคา 389,110 บาท
พ.ศ. 2543 ได้รับงบประมาณซ่อมแซมอาคารเรียน 1 หลัง อาคารเรียน 1 หลัง ราคา 2,5000- บาท
พ.ศ. 2544 ได้รับงบประมาณซ่อมแซมอาคารฝึกงาน 2 หลัง ราคา 195,000- บาท
พ.ศ. 2545 ได้งบประมาณถนนคอนกรีตยาว 71 เมตร จำนวน 145,000.- บาทได้งบประมาณทำรางระบายน้ำ 500 เมตร จำนวน 305,000.- บาท
พ.ศ.2546 ได้รับงบประมาณซ่อมแซมแผงกั้นแดด อาคารเรียน 212 ราคา 20,000 บาทได้รับงบประมาณซ่อม แซมระบบไฟฟ้าอาคารเรียน อาคารเรียน 216 ก และ216 ค ราคา 100,000 บาท
พ.ศ. 2547 ได้รับงบประมาณทาสีอาคาร 1 ราคา 85,000.- และครุภัณฑ์น้ำหยด 1 ชุดราคา 57,700.- บาท โต๊ะเก้าอี้ 60 ชุด เครื่องทำน้ำเย็นชนิด 5 หัว พร้อมเครื่องกรอง จำนวน 1 ชุด


ที่ตั้งสถานศึกษา
417 หมู่ที่ 2 ตำบลหาดเสี้ยว อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย 64130 อยู่บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 102 ถนนสาย ศรีสัชนาลัย - อุตรดิตถ์ ห่างจากที่ว่าการอำเภอศรีสัชนาลัย 2 กิโลเมตร ห่างจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุโขทัย เขต 2 ประมาณ 28 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดสุโขทัย 68 กิโลเมตร โรงเรียนเมืองเชลียงเป็นที่ตั้งศูนย์ประสานงานเขตพื้นที่การศึกษาสุโขทัย เขต 2 ประจำอำเภอศรีสัชนาลัย


ชื่อ โรงเรียนเมืองเชลียง
อักษรย่อ ม.ช.
สีประจำโรงเรียน ชมพู - ขาว
สถาปนา พ.ศ. 2499
ตราโรงเรียน ศิลาจารึก
คติพจน์ วิริเยน ทุกขมจเจติ
บุคคลล่วงทุกข์ได้เพราะความเพียร
ปรัชญา เรียนดี กีฬาเด่น เน้นคุณธรรม
เป็นผู้นำด้านศิลปวัฒนธรรมไทย
จุดเน้น เข้มวินัย นิสัยสะอาด ฉลาดศึกษา-
อบรม สร้างชาตินิยมโรงเรียน
ต้นไม้ประจำโรงเรียน จามจุรี
พระพุทธรูปประจำโรงเรียน พระพุทธสิริเรืองเมืองเชลียง